Hello..... my lovely fan page ^ ^
My name is Kanthida Woonkong, but you can call me "Fern". I'm 21 years old.
Now, I'm studying at third of English major, education faculty and my student number is 5411114030. If you are interested or have any questions regarding information in this blog. You can contact me by this email, kanthidawoonkong@gmail.com. Another way is chat on my facebook, https://www.facebook.com/deyogurt.lunla
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
วันอังคารที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2557
วันอังคารที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556
โปรแกรม Captivate 5 :: การสร้างแบบฝึกหัด
Click Quiz -> Question slide -> choose type of item
## สำหรับ แบบฝึกหัดต้องมี ฟีดแบกมาให้เสมอ เช่น Exellent
ตั้งค่าตัวข้อสอบที่ Quiz properties
## ในตัว Test ตั้งค่า
Quiz properties -> Option ( ต้องคลิ๊กในช่อง incomplete)
## Add sound -> double
click that word -> Audio Add audio
## Quiz perferences -> setting -> tick only Shuffle
answer and Show progress
วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
โปรแกรม Captivate 5 : การสอนเกี่ยวกับคำศัพท์ Vocabulary
แบบที่ 1 ชี้ที่ภาพแล้วคำศัพท์โผล่
ขั้นตอนที่ 1: Insert -> Standard Objective -> Rollover Caption
ขั้นตอนที่ 2: คลิ๊กขวาที่ภาพ -> Arrang -> Sent to backward
### ถ้าอยากให้กล่องข้อความไม่มีกรอบ :: click properties -> Caption type -> transparent
แบบที่ 2 ชี้คำศัพท์แล้วภาพโผล่
ขั้นตอนที่ 1: Insert -> Standard Objective -> Rollover Image
ขั้นตอนที่ 2: คลิ๊กขวาที่กล่องข้อความ(คำศัพท์) -> Arrang -> Sent to backward
### การตั้งค่าให้กรอบสีฟ้าหายไป :: click stoke -> tick white color
ขั้นตอนที่ 1: Insert -> Standard Objective -> Rollover Caption
ขั้นตอนที่ 2: คลิ๊กขวาที่ภาพ -> Arrang -> Sent to backward
### ถ้าอยากให้กล่องข้อความไม่มีกรอบ :: click properties -> Caption type -> transparent
แบบที่ 2 ชี้คำศัพท์แล้วภาพโผล่
ขั้นตอนที่ 1: Insert -> Standard Objective -> Rollover Image
ขั้นตอนที่ 2: คลิ๊กขวาที่กล่องข้อความ(คำศัพท์) -> Arrang -> Sent to backward
### การตั้งค่าให้กรอบสีฟ้าหายไป :: click stoke -> tick white color
วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556
เค้าโครง โครงงานภาษาอังกฤษ
1. หัวข้อโครงงาน (Title)
2. ชื่อผู้ทำโครงงาน (Author)
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน (Advisor)
4. ที่มาของปัญหา (Statement of the problem)
5. วัตถุประสงค์ของโครงงาน (Objective)
6. วิธีดำเนินการ (Processs)
7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Result)
8. เอกสารอ้างอิง (Reference)
2. ชื่อผู้ทำโครงงาน (Author)
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน (Advisor)
4. ที่มาของปัญหา (Statement of the problem)
5. วัตถุประสงค์ของโครงงาน (Objective)
6. วิธีดำเนินการ (Processs)
7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Result)
8. เอกสารอ้างอิง (Reference)
วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2556
บทความที่ 2 Computer Assisted Language Learning and English Language Teaching in Thailand: Overview
CALL
(Computer-Assisted-Language-Learning in each phrase)
(Computer-Assisted-Language-Learning in each phrase)
- Behaviorist CALL
ถูกนำมาใช้ในปี 1950 และเป็นที่รู้จักในปี 1960 เมื่อนำมาใช้ในการสอนภาษา (audio-lingual method) กันอย่างแพร่หลาย โดยส่วนใหญ่โปรแกรม CALL นำมาฝึกทักษะต่าง ๆ ในภาษา
- Communicative CALL
ต่อมาโปรแกรม CALL มีการพัฒนาโปรแกรมในปลายปี 1970 ถึงต้นปี 1980 ในส่วนนี้จะเน้นการใช้ CALL มากว่าที่จะเน้นวิเคราะห์รูปแบบภาษา ตามที่ Warschauer (1997) เคยทำไว้ก่อนหน้าคือ แบ่งนักเรียนที่เก่งและนักเรียนที่อ่อนทักษะทางภาษาโดยการใช้แบบฝึกหัด แต่จะต่างกันตรงที่คอมพิวเตอร์จะแบ่งเนื้อที่ใช้สอนสำหรับนักเรียนเองจึงใช้ไวยากรณ์มาสอนและอนุญาติให้นักเรียนคำตอบด้วยตัวเอง คอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นที่จะช่วยการต่อยอดและการเขียนของนักเรียนผ่านเกมการแสดงบทบาทสมมุติ
- Integrative CALL
การบูรณาการ CALL เริ่มต้นในปี 1990 เป็นรูปแบบการบูรณาการสอนภาษาในการติดต่อสื่อสารรวมทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน (ฮับบาร์ด, 2009)
ในขั้นตอนนี้คอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นเสมือนเครื่องมือในการเรียนการสอนเนื้อหาและช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาได้จริง ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงในการใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่ิอกลางในการเรียนการสอนฝึกทักษะภาษาให้แก่นักเรียน เป็นอีกหนึ่งที่ช่องทางที่นักเรียนสามารถศึกษานอกห้องเรียนได้ ทั้งนี้ควรที่จะให้นักเรียนได้เรียนรู้วีธีการใช้สื่อเหล่านี้มากกว่าแค่การให้นักเรียนไปเรียนในห้องแล็บภาษาแค่สัปดาห์ละครั้ง
Trends in educational technology
ในปัจจุบันรัฐบาลมีการใส่ใจและพยายามที่สนับสนุนให้นำสื่อ ICT มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนของนักเรียนไทยมากยิ่งขึ้น โดยเน้นที่หลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษ นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ถูกนำมาใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (ELT) เช่นการเรียนรู้ด้วยตนเอง, การเรียนภาษาอังกฤษทั่วไปเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและเจาะจงจุดประสงค์การเรียนรู้ (Wongsothorn et al., 2003) ถึงแม้ว่ารัฐบาลไทยจะพยายามปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยโดยการนำ CALL มาบูรณาการสอนในคาบวิชาภาษาอังกฤษ แต่ก้อยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร เพราะนักเรียนไทยมักจะใช้ประโยชน์ของอินเตอร์ไปในทางบันเทิง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเล่นเกมออนไลน์ และยังข้อจำกัดในการใช้ CALL และ อินเตอร์เน็ตในการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ด้วยเหตุนี้ CALL จึงเป็นได้แค่โปรแกรมช่วยสอนภาษาในบางโอกาสเท่านั้น เช่น
- การสอนและฝึกปฎิบัติทักษะทางด้านภาษา (เช่น ทักษะการฟังลแะการพูด)
- การสาธิต การเรียนการสอนแบบสาธิตโดยคอมพิวเตอร์เป็นตัวช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกคิดและเรียนรู้ด้วยตนเอง
- สร้างสถานการณืจำลอง เป็นการสอนที่สนับสนุนให้นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์ ฝึกทักษะการอภิปรายและฝึกความสามารถในการเขียนของนักเรียน โดยจะฝึกให้นีกเรียนได้แก้ปัญหาจากสถานการณ์จริง ๆ
- การใช้เกมส์
- การทดสอบ
ถึงแม้ กิจกรรมดังกล่าวจะมีในโปรแกรมออนไลน์ต่าง ๆ อีกมากมายรวมทั้งการเรียนรู้บนเว็บไซต์ นอกจากในโปรแกรม CALL แต่อย่างไรก็ตาม การเรียนการสอนภาษาอังกฤษไม่เหมาะสมที่จะเรียนหรือสอนผ่านระบบออนไลน์เหล่านั้น
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยีรวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอนภาษา ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) หรือที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในชื่อ CALL (Computer-Assisted-Language-Learning) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึงนำเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จนมีผลป้อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนรู้ บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
- การสอนและฝึกปฎิบัติทักษะทางด้านภาษา (เช่น ทักษะการฟังลแะการพูด)
- การสาธิต การเรียนการสอนแบบสาธิตโดยคอมพิวเตอร์เป็นตัวช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกคิดและเรียนรู้ด้วยตนเอง
- สร้างสถานการณืจำลอง เป็นการสอนที่สนับสนุนให้นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์ ฝึกทักษะการอภิปรายและฝึกความสามารถในการเขียนของนักเรียน โดยจะฝึกให้นีกเรียนได้แก้ปัญหาจากสถานการณ์จริง ๆ
- การใช้เกมส์
- การทดสอบ
ถึงแม้ กิจกรรมดังกล่าวจะมีในโปรแกรมออนไลน์ต่าง ๆ อีกมากมายรวมทั้งการเรียนรู้บนเว็บไซต์ นอกจากในโปรแกรม CALL แต่อย่างไรก็ตาม การเรียนการสอนภาษาอังกฤษไม่เหมาะสมที่จะเรียนหรือสอนผ่านระบบออนไลน์เหล่านั้น
The
principles and factors for applying
technology into education
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยีรวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอนภาษา ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) หรือที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในชื่อ CALL (Computer-Assisted-Language-Learning) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึงนำเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จนมีผลป้อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนรู้ บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
What is the study like?
การใช้ CALL ในการช่วยสอนภาษาเป็นการให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตัวเอง อีกทั้งยังได้ทำแบบฝึกหัดพร้อมกับรับฟีดแบ็กจากการการทำแบบฝึกในตัวโปรแกรมอีกด้วย
วันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2556
บทความที่ 1
What does " ELT" stand for? and What is it about?
"ELT" stand for "English Language Teaching". It's method of modern teacher to tech language to students by using technology like computer; CALL (Computer-Assisted-Language-Learning) (offered by Warschauer & Healey,1998). This program act as tutor. Students can directly receive drill and practicing language from the program.
Warschauer |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)